ร่างเค้าโครงคู่มือสำหรับเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน |
ร่างเค้าโครงคู่มือสำหรับเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน (ฉบับแก้ไขครั้งที่ 1 วันที่ 6 กันยายน 2554)
บทนำ อธิบายถึงกรอบเนื้อหาของคู่มือ และความสำคัญของปัญหาการค้ามนุษย์กับการละเมิดสิทธิมนุษยชน บทที่ 1 บททั่วไป 1.1ความหมายของการค้ามนุษย์ อธิบายความหมายของการค้ามนุษย์ รวมถึงความแตกต่างของ trafficking กับ smuggling โดยอ้างอิงตามมาตรา 6 พ.ร.บ.ค้ามนุษย์ ทั้งนี้จัดทำเป็นตารางเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่าง 1.2การแสวงหาประโยชน์จากการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน อธิบายความหมายของลักษณะการแสวงหาประโยชน์จากการบังคับใช้แรงงาน 3 ลักษณะ ดังนี้ 1.2.1 ด้านแรงงานหรือบริการ 1.2.2 ด้านแรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม 1.2.3 ด้านแรงงานในอุตสาหกรรมประมงทะเล
บทที่ 2 บทกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน 2.1บทกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน อธิบายกฎหมายที่เกี่ยวข้องทีละฉบับ โดยนำอนุบัญญัติ(กฎกระทรวง ระเบียบ ข้อบังคับ)ไปใส่ตามกฎหมาย หลัก ทั้งนี้ แยกหน่วยงานที่รับผิดชอบกฎหมายแต่ละฉบับ (แยกหน่วยงานและ sub ด้วยตัวกฎหมาย โดยแทรกหน่วยงานเพื่อระบุอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง) 2.1.1 พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 2.1.2 ประมวลกฎหมายอาญา 2.1.3 พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 ผู้รับผิดชอบ :คุณวาสนาเก้านพรัตน์ มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก 2.1.3.1ทั้งกรณีเป็นผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์และไม่ใช่ผู้เสียหาย ซึ่งเกิดปัญหาทางปฏิบัติ ใน การบังคับใช้มาตรา 26 กรณีคนต่างด้าว ต้องมีการพิสูจน์ DNA ของแม่และเด็ก เพื่อพิจารณาว่าเป็นกรณี การค้ามนุษย์หรือไม่ ทั้งนี้ เจ้าหน้าที่สามารถคุ้มครองเด็กโดยอาศัยอำนาจตามพ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก (เจ้าหน้าที่ผู้คุ้มครองสวัสดิภาพควรเป็นตัวตั้ง อาทิเจ้าหน้าที่จาก อำเภอ เขต อบต. อบจ. และพนักงาน เจ้าหน้าที่)) 2.1.4 พระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. 2509 ผู้รับผิดชอบ : พันตำรวจโท กรีธา ตันคณารัตน์ รองผู้กำกับ กองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธร ภาค 2 2.1.5 พระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 ผู้รับผิดชอบ :พันตำรวจโท กรีธา ตันคณารัตน์ รองผู้กำกับ กองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธร ภาค 2
สำนักงานตำรวจตรวจคนเข้าเมือง 2.1.6 พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 ผู้รับผิดชอบ :พันตำรวจโท ทวีป ช่างต่อ สารวัตรกองกำกับการ 2กองบังคับการสืบสวน สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง สำนักป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 2.1.7 พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ผู้รับผิดชอบ :ร้อยตำรวจเอกหญิง สุวนีย์ แสวงผล ผู้อำนวยการสำนักตรวจสอบและวิเคราะห์ สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน กรมการจัดหางาน 2.1.8 พระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน ผู้รับผิดชอบ : ผู้แทนจากกรมการจัดหางาน 2.1.9 พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 ผู้รับผิดชอบ : ผู้แทนจากกรมการจัดหางาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 2.1.10 พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ผู้รับผิดชอบ :คุณมุคตาร์ ปะนาฆอ นักวิชาการแรงงานชำนาญการ สำนักคุ้มครองแรงงาน 2.1.10.1.1 กฎกระทรวง ฉบับที่ 6(พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานพ.ศ. 2541 กรณีงานอันตราย 2.1.10.1.2กฎกระทรวง ฉบับที่ 10(พ.ศ.2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานพ.ศ. 2541 กรณีงานประมงทะเล 2.1.10.1.3 กฎกระทรวง ฉบับที่ 1ออกตามความในพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 กรณีแรงงานทำงานในบ้าน 2.1.10.1.4 กฎกระทรวงว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานในภาคเกษตรกรรม พ.ศ.2547 2.1.11 พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 ผู้รับผิดชอบ :คุณมุคตาร์ ปะนาฆอ นักวิชาการแรงงานชำนาญการ สำนักคุ้มครองแรงงาน กรมเจ้าท่า 2.1.12 พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พ.ศ. 2456 ผู้รับผิดชอบ : คุณเอกราช คันธโร เจ้าพนักงานตรวจท่าชำนาญการ สำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคที่ 6 สาขาพัทยา กรมเจ้าท่า กระทรวงคมนาคม 2.1.13 พระราชบัญญัติเรือสยาม พ.ศ. 2481 ผู้รับผิดชอบ : คุณเอกราช คันธโร เจ้าพนักงานตรวจท่าชำนาญการ สำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคที่ 6 สาขาพัทยา กรมเจ้าท่า กระทรวงคมนาคม
กรมประมง 2.1.14 พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. 2490 ผู้รับผิดชอบ:คุณประเทศ ซอรักษ์ หัวหน้ากลุ่มนิติกร กรมประมง กรมโรงงาน 2.1.15 พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ผู้รับผิดชอบ: ผู้แทนจากกรมโรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม 2.2 ตารางเปรียบเทียบแสดงความผิดที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์ตามลักษณะการบังคับใช้แรงงานต่างๆ
บทที่ 3สิทธิของผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ตามกฎหมาย 3.1สิทธิตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551 อธิบายหลักการของสิทธินั้นๆ โดยอ้างอิงมาตราเกี่ยวข้อง ทั้งนี้เนื้อหาของแต่ละมาตรานั้นให้นำไปแทรกใน ภาคผนวก 3.1.1 สิทธิในการได้รับความช่วยเหลือ มาตรา 33 ในหมวด 4 3.1.1.1 ระเบียบกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือ แก่บุคคลซึ่งเป็นผู้เสียหายจากการกระทำความผิดฐานค้ามนุษย์ พ.ศ. 2552 หมวด 2 การบริการของสถานคุ้มครอง 3.1.1.2ระเบียบกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือแก่ บุคคลซึ่งเป็นผู้เสียหายจากการกระทำความผิดฐานค้ามนุษย์ พ.ศ. 2552 หมวด 3 การให้ ความช่วยเหลือทางกฎหมาย ข้อ 12 3.1.1.3ระเบียบกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ว่าด้วยการจัดให้บุคคลซึ่ง อาจจะเป็นผู้เสียหายจากการกระทำความผิดฐานค้ามนุษย์อยู่ในความคุ้มครองเป็นการ ชั่วคราว พ.ศ. 2552 3.1.2 สิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทน มาตรา 35 3.1.2.1ระเบียบกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือแก่ บุคคลซึ่งเป็นผู้เสียหายจากการกระทำความผิดฐานค้ามนุษย์ พ.ศ. 2552 หมวด 3การให้ ความช่วยเหลือทางกฎหมาย ข้อ 15 3.1.3 สิทธิที่จะได้รับความคุ้มครองความปลอดภัย มาตรา 36(กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองพยาน) 3.1.3.1ระเบียบกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือแก่ บุคคลซึ่งเป็นผู้เสียหายจากการกระทำความผิดฐานค้ามนุษย์ พ.ศ. 2552 หมวด 3การให้ ความช่วยเหลือทางกฎหมาย ข้อ 14 3.1.4 สิทธิในการนำพักอาศัยอยู่ชั่วคราวและทำงานเป็นการชั่วคราวได้ตามกฎหมาย มาตรา 37 3.1.4.1 ระเบียบกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือแก่ บุคคลซึ่งเป็นผู้เสียหายจากการกระทำความผิดฐานค้ามนุษย์ พ.ศ. 2552 หมวด 3การให้ ความช่วยเหลือทางกฎหมาย ข้อ 13 3.1.4.2 ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการอนุญาตให้คนต่างด้าวบางจำพวกอยู่ใน ราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษ สำหรับผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ 3.1.5 สิทธิที่จะได้รับการส่งกลับประเทศที่เป็นถิ่นที่อยู่หรือภูมิลำเนา มาตรา 38 3.1.5.1ระเบียบกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือแก่ บุคคลซึ่งเป็นผู้เสียหายจากการกระทำความผิดฐานค้ามนุษย์ พ.ศ. 2552 หมวด 4การ ส่งกลับภูมิลำเนา 3.1.6 สิทธิในการคุ้มครองความเป็นส่วนตัว มาตรา 56 3.1.6.1ระเบียบกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ว่าด้วยการเก็บรักษา และการใช้ ประโยชน์เอกสารหรือข้อมูลข่าวสารที่ได้มาในการสืบสวน และใช้เป็นพยานหลักฐานใน การดำเนินคดีความผิดฐานค้ามนุษย์พ.ศ. 2551 3.1.7 สิทธิที่จะไม่ถูกดำเนินคดีอาญาในความผิดที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับความผิดฐานค้ามนุษย์ มาตรา 41 3.2สิทธิตามกฎหมายอื่น 3.2.1 สิทธิที่จะได้รับค่าตอบแทนผู้เสียหาย(พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและ ค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544) 3.2.2 สิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองพยาน (พระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546) 3.2.3 สิทธิที่จะสืบพยานล่วงหน้า (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 237 ทวิ) 3.2.4 สิทธิที่จะได้รับค่าจ้าง (พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541) 3.2.5 การคุ้มครองเด็กอายุไม่เกิน 18 ปี ในขั้นตอนการสอบปากคำและการเบิกความในชั้นศาล
บทที่ 4 กระบวนการดำเนินงานของสหวิชาชีพ เกริ่นนำด้วยลักษณะของกลไกการดำเนินงานของสหวิชาชีพระดับจังหวัด 4.1 ขั้นตอนการดำเนินงานและประสานงานของสหวิชาชีพ อธิบายการดำเนินการสหวิชาชีพตั้งแต่กระบวนการช่วยเหลือ ระหว่างการดำเนินคดี และหลังการดำเนินคดี จนกระทั่งการส่งกลับคืนสู่สังคม 4.1.1 การรับแจ้งเหตุ 4.1.1.1 การตรวจสอบข้อเท็จจริง 4.1.1.1.1 กรณีทั่วไป : ผู้รับแจ้งดำเนินการแจ้งเจ้าหน้าที่ตำรวจ(ส่วนกลางหรือส่วนพื้นที่) 4.1.1.1.2 กรณีพิเศษ : กรณีมีความจำเป็นเร่งด่วน หรือกรณีการดำเนินการตามกฎหมาย พิเศษ ผู้รับผิดชอบ: พันตำรวจตรี จตุพร อรุณฤกษ์ถวิล พนักงานสอบสวนคดีพิเศษ ระดับ 7ชำนาญการ กรมสอบสวนคดีพิเศษ 4.1.1.2 เจ้าหน้าที่ตำรวจประสานงานไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง(รายละเอียดหน่วยงานตามภาคผนวก) 4.1.1.2.1 ด้านแรงงานหรือบริการ 4.1.1.2.2 ด้านแรงงานโรงงานอุตสาหกรรม 4.1.1.2.3 ด้านแรงงานในอุตสาหกรรมประมงทะเล
4.1.2 การเข้าช่วยเหลือ(ใช้กม.ทุกฉบับ) *ยกกรณีผู้นำ/ผู้ควบคุมสถานการณ์การเข้าช่วยเหลือไว้พิจารณา 4.1.2.1.1 แนวทางการเข้าช่วยเหลือทั่วไป ผู้รับผิดชอบ: พันตำรวจตรี จตุพร อรุณฤกษ์ถวิล พนักงานสอบสวนคดีพิเศษ ระดับ 7ชำนาญการ กรมสอบสวนคดีพิเศษ อธิบายโดยอ้างถึงหลักสูตรอบรมของโครงการ ARTIP 4.1.2.2 การเข้าช่วยเหลือด้านแรงงานหรือบริการ 4.1.2.2.1 กลไกศปคม.จังหวัด 4.1.2.2.2 การเข้าตรวจของกรมการจัดหางาน 4.1.2.2.3 การเข้าตรวจของตม. 4.1.2.3 การเข้าช่วยเหลือแรงงานโรงงานอุตสาหกรรม 4.1.2.4 การเข้าช่วยด้านแรงงานในอุตสากรรมประมงทะเล 4.1.2.4.1 การเข้าตรวจของกรมประมง 4.1.2.4.1.1 ในน่านน้ำ 4.1.2.4.1.1.1 การเข้าตรวจเรือ 4.1.2.4.1.1.2 การเข้าตรวจคน 4.1.2.4.1.2 นอกน่านน้ำ 4.1.2.4.1.2.1 การเข้าตรวจเรือ 4.1.2.4.1.2.2 การเข้าตรวจคน 4.1.2.4.2 การเข้าตรวจของกรมเจ้าท่า 4.1.2.4.2.1 ในน่านน้ำ 4.1.2.4.2.1.1 การเข้าตรวจเรือ 4.1.2.4.2.1.2 การเข้าตรวจคน 4.1.2.4.2.2 นอกน่านน้ำ 4.1.2.4.2.2.1 การเข้าตรวจเรือ 4.1.2.4.2.2.2 การเข้าตรวจคน 4.1.2.5 การเข้าช่วยด้านแรงงานในสถานประกอบการ
4.1.3 การคัดแยกผู้เสียหาย ผู้รับผิดชอบ:พันตำรวจเอก ปัญญา ปิ่นสุข ผู้กำกับการ 5 กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ อธิบายโดยอ้างถึงแนวทางการคัดแยกผู้เสียหายตามMOU ปี 46 4.1.3.1 แบบฟอร์มการคัดแยกผู้เสียหาย - หากเกิดกรณีโต้แย้งทางการสอบสวน 4.1.3.2 ผลการคัดแยก 4.1.3.2.1 เป็นผู้เสียหาย เช่น การไม่ดำเนินคดีกับความผิดบางข้อหา 4.1.3.2.2 อาจจะเป็นผู้เสียหาย พิจารณาระเบียบ พม. 4.1.3.2.2.1 กรณีสมัครใจ 4.1.3.2.2.2 กรณีไม่สมัครใจ(แต่มีความจำเป็น) - มาตรา 29 ตัวอย่างคำร้องต่อศาล เพื่อดำเนินการช่วยเหลือ - ประเด็นปัญหาการเริ่มนับระยะเวลา 24 ชม. - กระบวนการยื่นคำร้องต่อศาล (พนักงานเจ้าหน้าที่) 4.1.3.2.2.3 ไม่เป็นผู้เสียหาย
...............................................สิ้นสุดการประชุมคู่มือครั้งที่ 1................................................................
4.1.4 การดำเนินคดีกับผู้กระทำความผิด - การดำเนินคดีอาญา o พนักงานสอบสวนดำเนินการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง - การจับกุมกับผู้กระทำความผิด - การสอบสวนดำเนินคดีกับผู้กระทำความผิด - การดำเนินคดีแพ่ง
- การดำเนินคดีแรงงาน 4.1.5 การให้ความช่วยเหลือและคุ้มครองสวัสดิภาพ 4.1.6 การสืบพยานล่วงหน้า 4.1.7 การคุ้มครองพยานในคดีอาญา 4.1.8 การเรียกค่าสินไหมทดแทน 4.1.9 การนำพักในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว 4.1.10 การทำงานในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว 4.1.11 การเรียกร้องค่าเสียหาย และค่าตอบแทนของผู้เสียหาย 4.1.12 การเรียกร้องค่าจ้าง 4.1.13 การส่งกลับ 4.2 4.3 แผนภาพแสดงการดำเนินงานของสหวิชาชีพในแต่ละขั้นตอน และลงรายละเอียดการทำงานแต่ละขั้นตอน บทที่ 5 ตัวอย่างคดีและการดำเนินการ ยกตัวอย่างการดำเนินคดีค้ามนุษย์ด้านแรงงานทั้งที่ประสบผลสำเร็จและอุปสรรค เพื่อเป็นแนวทางในกาดำเนินงานและการปรับใช้คู่มืออย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
บทที่ 6 ภาคผนวก 6.1หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานกับการต่อต้านการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน 6.2 การดำเนินค้ามนุษย์ระหว่างประเทศ 6.2.1 กฎหมายหลักที่เกี่ยวข้อง 6.2.1.1พระราชบัญญัติความร่วมมือระหว่างประเทศในเรื่องอาญา พ.ศ.2535 6.2.1.2พระราชบัญญัติส่งผู้ร้ายข้ามแดน พ.ศ.2551 6.2.1.3พระราชบัญญัติว่าด้วยการขัดกันของกฎหมาย พ.ศ.2481 6.2.2 กฎหมายของประเทศเพื่อนบ้านในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์ ( เช่น ประเทศลาว กัมพูชา พม่า เวียดนาม จีน มาเลย์เซีย และอินโดนีเซีย ) 6.3รายชื่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6.3.1 หน่วยงานประสานในประเทศ 6.3.2 หน่วยงานประสานระหว่างประเทศ
|